Toggle navigation
หน้าแรก
(current)
สมัครสมาชิก (ฟรี)
เข้าสู่ระบบ
ลืมรหัสผ่าน
คำถามที่พบบ่อย
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 728/2475
แหล่งที่มา: กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา
เผยแพร่เมื่อ: 1 ม.ค. 2513 07:00:00
คำพิพากษาย่อสั้น
ฉุดคร่าไปข่มขืนทำชำเราแล้วชิงทรัพย์
วิธีพิจารณาอาชญา
ตัดสินไม่เกินคำขอโจทก์ฟ้องชิงทรัพย์ได้ความปล้นลงโทษเสียงชิง
พ.ร.บ.ฎีกาอุทธรณ์ ศาลเดิมลง 243-299
ศาลอุทธรณ์ 276-243 ฎีกาในข้อชิงทรัพย์ได้
คำพิพากษาย่อยาวโปรดเข้าสู่ระบบ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญา มาตรา 243-276-29
ผู้พิพากษา
หริศ
พรหม
มนธา
ฎีกาน่าสนใจ
คำพิพากษาฎีกาที่ 5244/2545
https://deka.in.th/view-45769.html
ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 69 ทวิ วรรคห้า ให้อำนาจเจ้าพนักงานที่ดินสอบสวนไกล่เกลี่ยเพื่อให้การรังวัดสอบเขตและการออกโฉนดตามแนวเขตที่รังวัดใหม่ซึ่งเปลี่ยนไปสามารถดำเนินการต่อไปได้เพื่อประโยชน์แก่คู่กรณีที่จะได้ทราบแนวเขตที่แท้จริงตามที่ตกลงกัน และถ้าไกล่เกลี่ยแล้วไม่สามารถตกลงกันได้ก็แจ้งให้คู่กรณีไปฟ้องภายใน 90 วัน ถ้าไม่มีการนำคดีไปฟ้องภายในกำหนดดัง...
คำพิพากษาฎีกาที่ 386/2551
https://deka.in.th/view-497879.html
แม้ บ. ผู้เช่าซื้อยังชำระราคาค่าเช่าซื้อไม่ครบถ้วน กรรมสิทธิ์ในรถยนต์บรรทุกดังกล่าวยังเป็นของ ว. ผู้ให้เช่าซื้อ แต่ บ. ก็มีสิทธิครอบครองใช้ประโยชน์จากรถยนต์บรรทุกที่เช่าซื้อนั้นและมีหน้าที่ต้องส่งคืนรถยนต์บรรทุกที่เช่าซื้อในสภาพเรียบร้อยแก่ ว. ผู้ให้เช่าซื้อหากมีกรณีต้องคืน เมื่อจำเลยทั้งสองยักยอกชิ้นส่วนอุปกรณ์ของรถยนต์บรรทุกดังกล่าวไปจาก บ. บ. ย่อมได...
คำพิพากษาฎีกาที่ 1319/2512
https://deka.in.th/view-38728.html
ผู้เยาว์อายุ 18 ปีมีภริยา แต่มิได้จดทะเบียนสมรสย่อมยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้เยาว์ลงนามทำสัญญาโดยมีผู้แทนโดยชอบธรรมลงลายพิมพ์นิ้วมือเป็นพยานในเอกสารสัญญานั้นถือได้ว่าผู้แทนโดยชอบธรรมให้ความยินยอมแล้ว ทายาททุกคนทำสัญญาแบ่งปันมรดกซึ่งไม่มีพินัยกรรม เป็นการระงับข้อพิพาทแห่งกองมรดกที่จะมีขึ้น จึงเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย...
คำพิพากษาฎีกาที่ 1544/2497
https://deka.in.th/view-51006.html
การสมรู้ร่วมคิดในการปลงพระชนม์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือรู้แล้วว่ามีผู้คิดจะปลงพระชนม์ ช่วยปกปิดไม่เอาความไปร้องเรียนจนมีเหตุปลงพระชนม์ขึ้น เป็นความผิดตาม มาตรา 97 ตอน 2...
คำพิพากษาฎีกาที่ 724/2490
https://deka.in.th/view-87171.html
ผู้ที่จะฟ้องหรือถูกฟ้องเป็นจำเลยในโรงศาลนั้นจะต้องเป็นบุคคลโดยเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลตาม ก.ม. รัฐบาลไม่เป็นนิติบุคคลตาม ก.ม.จึงเป็นคู่ความไม่ได้ ศาลสั่งในคำฟ้องโจทก์ว่าไม่เป็นฟ้องที่จะรับไว้พิจารณา เมื่อโจทก์จะอุทธรณ์ฎีกาคำสั่งเช่นนี้เสียค่าขึ้นศาล 20 บาท ตาม 2 ข. แห่งตาราง 1 ต่อท้าย ป.วิ.แพ่ง ไม่ใช่ว่าจะต้องเสียตามจำนวนทุนทรัพย์ที่ตั้งมาในคำฟ้อง...
แอปพลิเคชั่นค้นหาคำพิพากษาศาลฎีกา